วันพฤหัสบดีที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2564

ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล

                    ๒.๑  การวิเคราะห์ปัจจัยภายในหรือสภาพแวดล้อมภายใน จะทำให้หมู่บ้านทราบถึงความสามารถหรือความเป็นตัวตนของหมู่บ้าน

               (๑) จุดอ่อนคือ ลักษณะหรือข้อด้อยของหมู่บ้านเมื่อเทียบกับหมู่บ้านอื่น

                   (๑.๑) ขาดการส่งเสริมและช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                   (๑.๒) ที่ดินทำกินไม่เพียงพอ

                   (๑.๓) ผลผลิตทางการเกษตรในท้องถิ่นตกต่ำ 

                 ด้านเศรษฐกิจ

                   - ไม่มีหน่วยงาน เข้ามาส่งเสริมแนะนำอาชีพ อย่างลึกซึ้ง

                    - ไม่มีเงินทุนในและอุปกรณ์ในการประกอบอาชีพ

                   - ประชาชนขาดความรู้ด้านการปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มผลผลิต                                                         - ไม่มีที่ดินทำกิน ที่ทำกินมีน้อยเกินไป

                   - รายได้ของครอบครัวไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย        

                   ด้านสังคม (เด็ก  เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสการศึกษา ศาสนา  และวัฒนธรรม                - เครียดจากสภาวะเศรษฐกิจ และการตกงาน

                   - เด็กและเยาวชนในหมู่บ้านส่วนใหญ่นิยมตามกระแสวัฒนธรรมต่างชาติเพิ่มมากขึ้น

                  ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

                   - การกำจัดขยะและสิ่งปฏิกูลยังไม่ถูกสุขลักษณะ                                           

                   - ไม่มีท่อระบายน้ำในฤดูฝน                                     

                  ด้านการเมืองและบริหารจัดการ

                    - ประชาชนขาดความมั่นใจ และไม่กล้าแสดงออกในที่ประชุม                                                 - ประชาชนไม่ค่อยมีส่วนร่วมในการรักษาความสงบเรียบร้อยในหมู่บ้าน

                  ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

                   - การคมนาคมภายในหมู่บ้านที่ใช้ถนนสายลูกรังยังไม่สะดวก โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน

                   - มีแหล่งน้ำไม่เพียงพอสำหรับการทำเกษตร เนื่องจากขาดระบบชลประทาน ทำให้การทำพืชไร่มีปัญหาในกรณีฝนทิ้งช่วง

                • ด้านสาธารณสุข

                   - ประชาชนในหมู่บ้านยังขาดความรู้ ความเข้าใจในการกำจัดขยะที่เป็นระบบและปลอดภัย

                   - ในช่วงฤดูฝนประชาชนในหมู่บ้านต้องพบกับปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

(๒) จุดแข็ง คือ ศักยภาพความสามารถหรือข้อเด่นของหมู่บ้านเมื่อเทียบกับหมู่บ้านอื่น

          (๒.๑) มีการติดต่อค้าขายกับประเทศเพื่อนบ้านได้สะดวก

          (๒.๒) ประชาชนส่วนใหญ่สามารถพึ่งพาตนเองได้

          (๒.๓) มีการประกอบอาชีพที่หลากหลาย

• ด้านเศรษฐกิจ                                                          

          -ประชาชนส่วนใหญ่ของหมู่บ้านมีการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

          -ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพที่หลากหลาย                               

          • ด้านสังคม(เด็ก  เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส การศึกษา ศาสนา  และวัฒนธรรม)                      -ประชาชนส่วนใหญ่เป็นเครือญาติกัน                           

                   -มีวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย   

                   -ประชาชนมีความรู้ด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานของหมู่บ้าน   

                   -สามารถดูแลตนเองและครอบครัว

                   -ประชาชนส่วนใหญ่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน               

                   -มีการใช้ภาษาทั้งภาษาไทย และมลายูในการสื่อสาร

          • ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

                   -มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์                           

                   -ประชาชนรู้คุณค่าของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีเหตุผล                  

                   -ประชาชนส่วนใหญ่สามารถใช้ทรัพยากรอย่างจำกัด

                   -สามารถจำกัดจัดระบบการใช้ทรัพยากรได้เองและสิ่งแวดล้อม

          • ด้านการเมืองและการบริหารจัดการ

                    -มีระบบการบริหารจัดการที่เข้มแข็ง                                              

                   -เป็นหมู่บ้านที่ปลอดความขัดแย้งทางการเมือง

                   -สามารถบริหารจัดการปัญหาของหมู่บ้านได้เอง               

             ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

                   -ระบบสาธารณูปโภคโดยส่วนใหญ่มีความพร้อม และสามารถสร้างความเป็นอยู่ที่ดีเพิ่มมากยิ่งขึ้น รวมทั้งช่วยส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

             ด้านสาธารณสุข

                   -ประชาชนในหมู่บ้านส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับการออกกำลังกายมากขึ้น ซึ่งทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

 

(๒) จุดแข็ง คือ ศักยภาพความสามารถหรือข้อเด่นของหมู่บ้านเมื่อเทียบกับหมู่บ้านอื่น

          (๒.๑) มีการติดต่อค้าขายกับประเทศเพื่อนบ้านได้สะดวก

          (๒.๒) ประชาชนส่วนใหญ่สามารถพึ่งพาตนเองได้

          (๒.๓) มีการประกอบอาชีพที่หลากหลาย

• ด้านเศรษฐกิจ                                                          

          -ประชาชนส่วนใหญ่ของหมู่บ้านมีการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

          -ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพที่หลากหลาย                               

          • ด้านสังคม(เด็ก  เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส การศึกษา ศาสนา  และวัฒนธรรม)                      -ประชาชนส่วนใหญ่เป็นเครือญาติกัน                           

                   -มีวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย   

                   -ประชาชนมีความรู้ด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานของหมู่บ้าน   

                   -สามารถดูแลตนเองและครอบครัว

                   -ประชาชนส่วนใหญ่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน               

                   -มีการใช้ภาษาทั้งภาษาไทย และมลายูในการสื่อสาร

          • ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

                   -มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์                           

                   -ประชาชนรู้คุณค่าของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีเหตุผล                  

                   -ประชาชนส่วนใหญ่สามารถใช้ทรัพยากรอย่างจำกัด

                   -สามารถจำกัดจัดระบบการใช้ทรัพยากรได้เองและสิ่งแวดล้อม

          • ด้านการเมืองและการบริหารจัดการ

                    -มีระบบการบริหารจัดการที่เข้มแข็ง                                              

                   -เป็นหมู่บ้านที่ปลอดความขัดแย้งทางการเมือง

                   -สามารถบริหารจัดการปัญหาของหมู่บ้านได้เอง               

             ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

                   -ระบบสาธารณูปโภคโดยส่วนใหญ่มีความพร้อม และสามารถสร้างความเป็นอยู่ที่ดีเพิ่มมากยิ่งขึ้น รวมทั้งช่วยส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

             ด้านสาธารณสุข

                   -ประชาชนในหมู่บ้านส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับการออกกำลังกายมากขึ้น ซึ่งทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

๒.๒ การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก หรือสภาพแวดล้อมภายนอก จะทำให้หมู่บ้านทราบถึงโอกาสและอุปสรรคการทำงานของหมู่บ้าน
                   (๑) โอกาส
                   (๑.๑)  นโยบายของรัฐให้ความสำคัญ และเปิดโอกาสในการส่งเสริม/สนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

    (๑.๒)  รัฐบาลมีนโยบายในการสนับสนุนเงินทุนให้กับหมู่บ้านในรูปของกทบ.

 (๒) อุปสรรค

(๒.๑)  ประชาชนส่วนใหญ่สามารถพึ่งพาตนเองได้

(๒.๒)  ประชาชนส่วนใหญ่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน

(๒.๓)  มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์

๒.๓ วิสัยทัศน์(ทิศทางการพัฒนา)
                    หมู่บ้านน่าอยู่ ประชาเข้มแข็ง รู้รักสามัคคี ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

                   ยุทธศาสตร์

                       ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑  วางระบบรากฐานการมุ่งมั่น พัฒนา ให้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง                                                        
                       ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒  สร้างความเข้มแข็งในระบบการบริหารจัดการ

                     ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓  ส่งเสริมให้มีการดำเนินชีวิตแบบวิถีพอเพียง

      กลยุทธ์
                       กลยุทธ์ ๑
. การสร้างภูมิคุ้มกันในหมู่บ้าน

            กลยุทธ์ ๒. การป้องกันปัญหายาเสพติด

๒.๔ โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบูรณาการวางแผนงาน (CIA)

      หมู่บ้านสามารถนำโปรแกรม CIA มาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลของหมู่บ้าน เพื่อสะท้อนสภาพปัญหาและจุดเด่นของหมู่บ้านได้ โดยการใช้ฐานข้อมูล จปฐ. และ กชช.2ค. กรอกลงในโปรแกรมสำเร็จรูปซึ่งโปรแกรมจะวิเคราะห์ข้อมูลเป็น 5 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาด้านอาชีพ การจัดการทุนชุมชน การจัดการความเสี่ยงชุมชน
การแก้ปัญหาความยากจน การบริหารจัดการชุมชน การใช้โปรแกรมดังกล่าวนอกจากเพื่อการวิเคราะห์สภาพความเป็นจริงของหมู่บ้านแล้ว ยังสามารถวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลที่ได้จากการทำ
SWOT  เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์และตรงตามข้อเท็จจริงมากที่สุด




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน

  ๑.แผนที่หมู่บ้าน ๒. ประวัติหมู่บ้าน           อดีตบริเวณหมู่บ้านแห่งนี้ เป็นป่าดงดิบซึ่งมีต้นไม้ชนิดหนึ่งอยู่ในพื้นที่เป็นจำนวนมาก ชาว...